IT Latest News

วันอาทิตย์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2556

Global Diabetes Management





  1.                        †
    Global Partnership for Effective Diabetes Management members: George Alberti, University of Newcastle-upon- Tyne, Newcastle-upon-Tyne, UK; Pablo Aschner, Javeriana University School of Medicine, Bogota, Colombia; Clifford Bailey, Aston University, Birmingham, UK; Lawrence Blonde, Oschner Clinic Foundation, New Orleans, LA, USA; Stefano Del Prato (Chair), University of Pisa, Pisa, Italy; Anne-Marie Felton, Federation of European Nurses in Diabetes, London, UK; Barry Goldstein, Jefferson Medical College of Thomas Jefferson University, PA, USA; Ramon Gomis, Hospital Clinic, Barcelona, Spain; Edward Horton, Joslin Diabetes Center, Boston, MA, USA; James LaSalle, Medical Arts Research Collaborative, Excelsior Springs, MO, USA; Hong-Kyu Lee, Seoul National University College of Medicine, Seoul, Korea; Lawrence Leiter, St. Michael's Hospital and University of Toronto, Toronto, ON, Canada; Stephan Matthaei, Diabetes-Zentrum Quakenbruck, Quakenbruck, Germany; Marg McGill, Diabetes Centre, Royal Prince Alfred Hospital, Sydney, Australia; Neil Munro, Chelsea and Westminster Hospital, London, UK; Richard Nesto, Lahey Clinic, Burlington, MA, USA; Paul Zimmet, International Diabetes Institute, Caulfield, Australia, and Bernard Zinman, Samuel Lunenfeld Research Institute, Mount Sinai Hospital, University of Toronto, Toronto, ON, Canada.
*Barry J Goldstein, Division of Endocrinology, Diabetes and Metabolic Diseases, Jefferson Medical College of Thomas Jefferson University Hospital, Room 320 Curtis Building, 1015 Walnut Street, Philadelphia, PA 19107-5005, USA Tel.: + 1 (215) 503 1272 Fax: + 1 (215) 923 7932 Email:barry.goldstein@jefferson.edu

  • Disclosures 
  • “Aim for glycaemic targets as close to normal as possible and as early as possible”
  • “Work with patients and doctors to improve awareness”
  • “Disease management programmes to provide real improvements in clinical outcomes”



My Beloved, Where are you?

Congratulations on your new Wellness Franchise Owners!  (Dealer or Franchise Apply and/or Buy ProductsAround the world.,  Where are you? Referring ID Number or/and Your Enroller's ID  or/and Sponsor ID :: 102421666 And Password:: 1024216667  Email::shilohthai@gmail.com

Customer ID Number for Franchise Owner Wellness
United States of AmericaUSA. Your Enroller's ID  or/and Sponsor ID :: 102421666


MexicoMexico Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
Puerto RicoPuerto Rico Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
Dominican RepublicDominican Republic Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
Luxembourg :  User Name Sponsor ID/Sponsor ID :: 102421666 And Password:: 1024216667
BahrainBahrain Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
 AlgeriaAlgeria Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
OmanOman Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
KuwaitKuwait Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
TunisiaTunisia Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
EgyptEgypt Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
JordanJordan Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
LebanonLebanon Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
MoroccoMorocco Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
QatarQatar Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
Saudi ArabiaSaudi Arabia Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
United Arab EmiratesUnited Arab Emirates Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
Brunei  User Name Sponsor ID/Sponsor ID :: 102421666 And Password:: 1024216667

Bahamas 

User Name Sponsor ID/Sponsor ID :: 102421666 And Password:: 1024216667

Thailand Thailand User Name Sponsor ID/Sponsor ID :: 102421666 And Password:: 1024216667


สรุป การประชุมเบาหวานโลก        Asianet Press Release -- พุธที่ 14 พฤศจิกายน 2007 12:09:18 น.

         นิวยอร์ก--14 พ.ย.--พีอาร์นิวส์ไวร์ - เอเชียเน็ท / อินโฟเควสท์
         เนื่องในวันเบาหวานโลกแห่งสหประชาชาติซึ่งมีขึ้นเป็นครั้งแรก ผู้เชี่ยวชาญได้ร่วมกันตีพิมพ์บทความแนะแนว
เพื่อช่วยให้สหประชาชาติสามารถ บรรลุปณิธานในการจำกัดการแพร่กระจายของโรคเบาหวานทั่วโลก

                  สมาพันธ์ความร่วมมือนานาชาติเพื่อการจัดการโรคเบาหวาน (The Global Partnership for Effective
Diabetes Management) เรียกร้องให้ทั่วโลกเปลี่ยนแปลงทัศนคติในการรักษาและป้องกันโรคเบาหวานเพื่อ จำกัดการแพร่กระจายของโรคซึ่งเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เนื่องในวันเบาหวานโลกแห่งสหประชาชาติซึ่งมีขึ้นเป็นครั้งแรก โดยในบทความล่าสุดซึ่งมีชื่อว่า ปณิธานโรคเบาหวานแห่งสหประชาชาติ: "ถึงเวลาทำคำพูดให้เป็นความจริง" (UN Resolution on Diabetes: "Time to Put Fine Words into Action") ทางสมาพันธ์ได้เรียกร้องให้รัฐบาล ประชาชนทั่วไป และชุมชนผู้ป่วยโรคเบาหวาน จากทั่วโลก ร่วมกันเคลื่อนไหวเพื่อต่อสู้กับโรคเบาหวานเป็นครั้งแรกของโลก ทั้งนี้ บทความดังกล่าวได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร International Journal of Clinical Practice ฉบับเดือนธันวาคม
         "ปณิธานของสหประชาชาติเป็นสิ่งที่สำคัญมาก เนื่องจากแสดงให้เห็นว่า สหประชาชาติมองว่าโรคเบาหวานเป็นปัญหาใหญ่ ที่กำลังขยายตัวและสร้างความเสีย หายต่อสุขภาพของบุคคลและทั่วโลก นอกจากนั้น จำนวนสถิติของผู้ป่วยโรคเบาหวานก็ไม่น่าพอใจ เป็นอย่างยิ่ง" มาร์ติน ซิลิงค์ ประธานสมาพันธ์ความร่วมมือนานาชาติเพื่อการจัดการโรคเบาหวาน และผู้นำโครงการปณิธานโรคเบาหวาน แห่งสหประชาชาติ กล่าว "เพื่อให้ปณิธานของสหประชาชาติกลายเป็นความจริง เราต้องร่วมมือกันดำเนินการตามที่บทความของทาง

สมาพันธ์ความร่วมมือนานาชาติ ระบุไว้"

         สมาพันธ์ความร่วมมือนานาชาติเกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของผู้เชี่ยวชาญโรคเบา หวานจากทั่วโลก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ

ให้คำปรึกษาเพื่อพัฒนาการดูแลรักษาโรคเบาหวาน โดยในบทความล่าสุดแสดงให้เห็นว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญได้ตอบรับปณิธานของ สหประชาชาติด้วยการตีพิม์บทความแนะนำ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจและกระตุ้นให้สมาชิกในชุมชนโรคเบาหวานร่วมกันพัฒนาการ ดูแลรักษาโรคเบาหวาน ตั้งแต่ระดับผู้ให้บริการด้านสุขภาพ ผู้ป่วย ไปจนถึงรัฐบาลของนานาประเทศทั่วโลก นี่เป็นตัวอย่างซึ่งแสดง ให้เห็นถึงประโยชน์ของการป้องกันโรคเบาหวานตั้งแต่ เนิ่นๆ รวมถึงการรักษาโรคเบาหวานโดยมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางเพื่อผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น และยังเน้นย้ำให้เห็นว่าต้องมีการปรับเปลี่ยนนโยบายสุขภาพและวิธีการปฏิบัติ เพื่อผลดีที่ยั่งยืนในระยะยาวสำหรับผู้ป่วยและสาธารณสุขทั่วโลก

         "ถ้าเราไม่เริ่มลงมือตั้งแต่ตอนนี้ พอถึงปี พ.ศ. 2568 จะมีผู้คนกว่า 400 ล้านคนทั่วโลกที่เป็นโรคเบาหวาน เนื่องจากเห็นได้ชัดว่าวิธีการป้องกันและรักษาโรคเบาหวานในปัจจุบันยังไม่มี ประสิทธิภาพเพียงพอ" ศาสตราจารย์ สเตฟาโน เดล ปราโต ประธานสมาพันธ์ความร่วมมือนานาชาติ และศาตราจารย์ด้านต่อมไร้ท่อจากมหาวิทยาลัยปิซ่า ประเทศอิตาลี กล่าว "ไม่มีผู้ป่วย แพทย์ รัฐบาล หรือประเทศใดที่สามารถรับมือกับโรคเบาหวานได้เพียงลำพัง เราต้องร่วมมือและแลกเปลี่ยนความรู้ ซึ่งกันและกันเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยแต่ละ คนสามารถรับมือกับอาการเจ็บป่วยของตนเองได้"

         ปณิธานโรคเบาหวานแห่งสหประชาชาติ: "ถึงเวลาทำคำพูดให้เป็นความจริง" เพื่อ ควบคุมการแพร่กระจายของ

โรคเบาหวานอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เชี่ยวชาญจากทั่วโลกจึงอุทิศตนในการรักษาโรคเบาหวานตามหลักปฏิบัติที่

ผู้ร่วมอุดมการณ์ร่วมกันร่างไว้ อย่างไรก็ตาม แค่หลักปฏิบัติเป็นลายลักษณ์อักษรคงไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอะไรได้

แต่ถ้าหลักการดังกล่าวถูกนำไปใช้ทั่วโลก บทความนี้จะกลายเป็นพื้นฐานในการปฏิรูปการป้องกันและรักษาโรคเบาหวานต่อไปใน อนาคต

        หลักปฏิบัติในการปฏิรูปการรักษาโรคเบาหวาน

         - ควรยกระดับให้โรคเบาหวานเป็นปัญหาสาธารณสุขที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ
         - ต้องมีนโยบายร่วมกันเพื่ออำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่ดีที่ สุดในการรับมือกับโรค กระตุ้นให้สังคม ตระหนักถึงความสำคัญของโรค และนำโครงการป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพมาใช้
         - ใช้ความพยายามร่วมกันระหว่างสมาคมโรคเบาหวานและรัฐบาลในระดับภูมิภาคและ ระดับนานาชาติ เพื่อการรักษา โรคเบาหวานแต่เนิ่นๆ ซึ่งจะทำให้ผลลัพธ์ในการรักษาออกมาดีขึ้น นอกจากนั้น องค์กรนอกภาครัฐยังสามารถเป็นแรง สนับสนุนหลัก ในการปฏิรูปการรักษาโรคเบาหวาน
         - การพัฒนาความเข้าใจของสาธารณชนเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการวินิจฉัยและป้องกันโรคเบาหวานแต่เนิ่นๆ
         - ควรร่วมกันกระตุ้นให้สังคมตระหนักถึงความสำคัญของโรคเบาหวานเนื่องจากเป็น วิธีป้องกันโรคในเบื้องต้น
รวมถึงให้การฝึกฝนเกี่ยวกับโรคเบาหวานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อให้ทุก ฝ่ายได้รับข้อมูลที่สอดคล้องกัน
         - ยุทธศาสตร์การจัดการโรคเบาหวานโดยมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางได้รับการพิสูจน์ แล้วว่าให้ผลสำเร็จในการกระตุ้น
ให้ผู้ป่วยแต่ละคนรับมือกับอาการเจ็บป่วยของ ตนเอง         
- โครงการป้องกันโรคควรครอบคลุมไปถึงปัญหาการมีน้ำหนักตัวมากเกินไปและรูปแบบ การใช้ชีวิตแบบนั่งหรือนอน
อยู่กับที่เป็นเวลานาน รวมไปถึงภาคส่วนอื่นๆ อย่างอุตสาหกรรมอาหารด้วย
         - การรายงานและทดสอบศักยภาพอย่างสม่ำเสมอเป็นส่วนสำคัญในการประเมินผลของยุทธศาสตร์ใหม่ดังกล่าว
         "ด้วยการแลกเปลี่ยนวิธีการรับมือกับโรคเบาหวาน เราจะสามารถเปลี่ยนแปลงวิธีการป้องกัน ชะลอการลุกลาม
และลดความรุนแรงของโรคได้" ศาสตราจารย์ เดล ปาโตร กล่าว "ด้วยการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
ส่งเสริมการสร้างความร่วมมือระหว่างทีมงานที่มีเป้าหมายลแความรับผิดชอบร่วม กัน และดำเนินกิจกรรมอย่าง
ครอบคลุมร่วมกัน เราก็สามารถพัฒนาการรักษาโรคเบาหวานได้อย่างยั่งยืน"
         การแพร่กระจายของโรคเบาหวานทั่วโลก
       ปัจจุบัน มีผู้ป่วยโรคเบาหวานกว่า 246 ล้านคนทั่วโลก ภายในปีพ.ศ. 2568 คาดว่า จะมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นเป็น 400 ล้านคน ทั้งนี้ องค์การอนามัยโลกคาดการณ์ว่าอัตราการป่วยเป็นโรคเบาหวานจะเพิ่มขึ้นในประเทศ กำลังพัฒนา อันเป็นผลมาจาก การเติบโตของจำนวนประชากร การเข้าสู่ช่วงสูงวัย การรับประทานอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ การมีน้ำหนักเกิน และการใช้ชีวิต แบบนั่งหรือนอนอยู่กับที่เป็นเวลานาน นอกจากนั้นองค์การอนามัยโลกยังคาดการณ์ว่า ในปีพ.ศ. 2568 ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ส่วนมากในประเทศพัฒนาแล้วจะเป็นกลุ่มที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 65 ปี ส่วนผู้ป่วยโรคเบาหวานส่วนมากในประเทศกำลังพัฒนา จะอยู่ในช่วงวัย 35 - 64 ปี ในขณะเดียวกัน สหพันธ์เบาหวานนานาชาติ (The International Diabetes Federation หรือ IDF) ก็คาดการณ์ว่า โรคเบาหวานจะแพร่กระจายมากที่สุดในประเทศกำลังพัฒนา
         เกี่ยวกับ วันเบาหวานโลก
       วันเบาหวานโลก ซึ่งก่อตั้งขึ้นโดยสหพันธ์เบาหวานนานาชาติโดยการสนับสนุนจากองค์การอนามัยโลก
ถือเป็นโครงการรณรงค์ให้ทั่วโลกตระหนักถึงความสำคัญของโรคเบาหวาน โดยโครงการดังกล่าวสามารถดึงดูด
ผู้คนหลายล้านคนจาก 160 ประเทศทั่วโลก ที่ตระหนักถึงการแพร่กระจายของโรคเบาหวานที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

         เกี่ยวกับ สมาพันธ์ความร่วมมือนานาชาติเพื่อการจัดการโรคเบาหวาน
       สมาพันธ์ความร่วมมือนานาชาติเพื่อการจัดการโรคเบาหวาน เกิดขึ้นจากการร่วมแรงร่วมใจของ
ผู้เชี่ยวชาญด้านเบาหวานจากสถาบันและองค์กร โรคเบาหวานชั้นนำจากทั่วโลก โดยมีเป้าหมายร่วมกัน
ในการพัฒนาการรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานแบบ 2 (Type 2 diabetes) นอกจากนั้นทางสมาพันธ์
ยังตั้งเป้าที่จะให้คำแนะนำและการสนับสนุนกับเจ้า หน้าที่สาธารณสุขในการช่วยเหลือผู้ป่วยที่ต้องรับ
การรักษาด้วยการควบคุม ปริมาณน้ำตาลกลูโคสในร่างกาย


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น