IT Latest News

วันอาทิตย์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2556

Type 2 diabetes–treat early

Type 2 diabetes – treat early and treat intensively

  1.                      B. J. Goldstein1
  2. R. Gomis2
  3. H-K Lee3,
  4. L.A. Leiter4
  5. on behalf of the Global Partnership for Effective Diabetes Management
Goldstein, B. J., Gomis, R., Lee, H.-K., Leiter, L.A. and on behalf of the Global Partnership for Effective Diabetes Management (2007), Type 2 diabetes – treat early, treat intensively. International Journal of Clinical Practice, 61: 16–21. doi: 10.1111/j.1742-1241.2007.01610.x

Author Information

  1. 1
    Division of Endocrinology, Diabetes and Metabolic Diseases, Jefferson Medical College of Thomas Jefferson University Hospital, Philadelphia, PA, USA
  2. 2
    Endocrinology and Diabetes Unit, Hospital Clínic, Barcelona, Spain
  3. 3
    Department of Internal Medicine, Seoul National University College of Medicine, Seoul, Korea
  4. 4
    St. Michael's Hospital and University of Toronto, Toronto, ON, Canada
  1. Summary
  •                          The traditional ‘stepwise approach’ to diabetes management is increasingly considered inadequate for many individuals with type 2 diabetes mellitus. Uncontrolled hyperglycaemia places patients at risk of serious complications. The recent United Nations Resolution on diabetes has recognised this, emphasising the severe risks posed by the condition and calling on nations to improve prevention, treatment and care of diabetes. Expert groups such as the Global Partnership for Effective Diabetes Management, as well as treatment guidelines such as those of the Canadian Diabetes Association and the Western Pacific Region of the International Diabetes Federation, are now recommending early, intensive intervention to lower blood glucose levels to target levels as quickly as possible. This intervention will improve long-term outcomes and deliver a better quality of care for people living with diabetes. In this article, we review case studies from around the world showing how this strategy is being implemented.




    1. Global Partnership for Effective Diabetes Management members: George Alberti, University of Newcastle-upon- Tyne, Newcastle-upon-Tyne, UK; Pablo Aschner, Javeriana University School of Medicine, Bogota, Colombia; Clifford Bailey, Aston University, Birmingham, UK; Lawrence Blonde, Oschner Clinic Foundation, New Orleans, LA, USA; Stefano Del Prato (Chair), University of Pisa, Pisa, Italy; Anne-Marie Felton, Federation of European Nurses in Diabetes, London, UK; Barry Goldstein, Jefferson Medical College of Thomas Jefferson University, PA, USA; Ramon Gomis, Hospital Clinic, Barcelona, Spain; Edward Horton, Joslin Diabetes Center, Boston, MA, USA; James LaSalle, Medical Arts Research Collaborative, Excelsior Springs, MO, USA; Hong-Kyu Lee, Seoul National University College of Medicine, Seoul, Korea; Lawrence Leiter, St. Michael's Hospital and University of Toronto, Toronto, ON, Canada; Stephan Matthaei, Diabetes-Zentrum Quakenbruck, Quakenbruck, Germany; Marg McGill, Diabetes Centre, Royal Prince Alfred Hospital, Sydney, Australia; Neil Munro, Chelsea and Westminster Hospital, London, UK; Richard Nesto, Lahey Clinic, Burlington, MA, USA; Paul Zimmet, International Diabetes Institute, Caulfield, Australia, and Bernard Zinman, Samuel Lunenfeld Research Institute, Mount Sinai Hospital, University of Toronto, Toronto, ON, Canada.
      *Barry J Goldstein, Division of Endocrinology, Diabetes and Metabolic Diseases, Jefferson Medical College of Thomas Jefferson University Hospital, Room 320 Curtis Building, 1015 Walnut Street, Philadelphia, PA 19107-5005, USA Tel.: + 1 (215) 503 1272 Fax: + 1 (215) 923 7932 Email:barry.goldstein@jefferson.edu
    • Disclosures 
    • สรุป การประชุมเบาหวานโลก        Asianet Press Release -- พุธที่ 14 พฤศจิกายน 2007 12:09:18 น.
             นิวยอร์ก--14 พ.ย.--พีอาร์นิวส์ไวร์ - เอเชียเน็ท / อินโฟเควสท์
             เนื่องในวันเบาหวานโลกแห่งสหประชาชาติซึ่งมีขึ้นเป็นครั้งแรก ผู้เชี่ยวชาญได้ร่วมกันตีพิมพ์บทความแนะแนว
    เพื่อช่วยให้สหประชาชาติสามารถ บรรลุปณิธานในการจำกัดการแพร่กระจายของโรคเบาหวานทั่วโลก
                      สมาพันธ์ความร่วมมือนานาชาติเพื่อการจัดการโรคเบาหวาน (The Global Partnership for Effective
    Diabetes Management) เรียกร้องให้ทั่วโลกเปลี่ยนแปลงทัศนคติในการรักษาและป้องกันโรคเบาหวานเพื่อ จำกัดการแพร่กระจายของโรคซึ่งเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เนื่องในวันเบาหวานโลกแห่งสหประชาชาติซึ่งมีขึ้นเป็นครั้งแรก โดยในบทความล่าสุดซึ่งมีชื่อว่า ปณิธานโรคเบาหวานแห่งสหประชาชาติ: "ถึงเวลาทำคำพูดให้เป็นความจริง" (UN Resolution on Diabetes: "Time to Put Fine Words into Action") ทางสมาพันธ์ได้เรียกร้องให้รัฐบาล ประชาชนทั่วไป และชุมชนผู้ป่วยโรคเบาหวาน จากทั่วโลก ร่วมกันเคลื่อนไหวเพื่อต่อสู้กับโรคเบาหวานเป็นครั้งแรกของโลก ทั้งนี้ บทความดังกล่าวได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร International Journal of Clinical Practice ฉบับเดือนธันวาคม
             "ปณิธานของสหประชาชาติเป็นสิ่งที่สำคัญมาก เนื่องจากแสดงให้เห็นว่า สหประชาชาติมองว่าโรคเบาหวานเป็นปัญหาใหญ่ ที่กำลังขยายตัวและสร้างความเสีย หายต่อสุขภาพของบุคคลและทั่วโลก นอกจากนั้น จำนวนสถิติของผู้ป่วยโรคเบาหวานก็ไม่น่าพอใจ เป็นอย่างยิ่ง" มาร์ติน ซิลิงค์ ประธานสมาพันธ์ความร่วมมือนานาชาติเพื่อการจัดการโรคเบาหวาน และผู้นำโครงการปณิธานโรคเบาหวาน แห่งสหประชาชาติ กล่าว "เพื่อให้ปณิธานของสหประชาชาติกลายเป็นความจริง เราต้องร่วมมือกันดำเนินการตามที่บทความของทาง สมาพันธ์ความร่วมมือนานาชาติ ระบุไว้"
             สมาพันธ์ความร่วมมือนานาชาติเกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของผู้เชี่ยวชาญโรคเบา หวานจากทั่วโลก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ให้คำปรึกษาเพื่อพัฒนาการดูแลรักษาโรคเบาหวาน โดยในบทความล่าสุดแสดงให้เห็นว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญได้ตอบรับปณิธานของ สหประชาชาติด้วยการตีพิม์บทความแนะนำ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจและกระตุ้นให้สมาชิกในชุมชนโรคเบาหวานร่วมกันพัฒนาการ ดูแลรักษาโรคเบาหวาน ตั้งแต่ระดับผู้ให้บริการด้านสุขภาพ ผู้ป่วย ไปจนถึงรัฐบาลของนานาประเทศทั่วโลก นี่เป็นตัวอย่างซึ่งแสดง ให้เห็นถึงประโยชน์ของการป้องกันโรคเบาหวานตั้งแต่ เนิ่นๆ รวมถึงการรักษาโรคเบาหวานโดยมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางเพื่อผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น และยังเน้นย้ำให้เห็นว่าต้องมีการปรับเปลี่ยนนโยบายสุขภาพและวิธีการปฏิบัติ เพื่อผลดีที่ยั่งยืนในระยะยาวสำหรับผู้ป่วยและสาธารณสุขทั่วโลก
             "ถ้าเราไม่เริ่มลงมือตั้งแต่ตอนนี้ พอถึงปี พ.ศ. 2568 จะมีผู้คนกว่า 400 ล้านคนทั่วโลกที่เป็นโรคเบาหวาน เนื่องจากเห็นได้ชัดว่าวิธีการป้องกันและรักษาโรคเบาหวานในปัจจุบันยังไม่มี ประสิทธิภาพเพียงพอ" ศาสตราจารย์ สเตฟาโน เดล ปราโต ประธานสมาพันธ์ความร่วมมือนานาชาติ และศาตราจารย์ด้านต่อมไร้ท่อจากมหาวิทยาลัยปิซ่า ประเทศอิตาลี กล่าว "ไม่มีผู้ป่วย แพทย์ รัฐบาล หรือประเทศใดที่สามารถรับมือกับโรคเบาหวานได้เพียงลำพัง เราต้องร่วมมือและแลกเปลี่ยนความรู้ ซึ่งกันและกันเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยแต่ละ คนสามารถรับมือกับอาการเจ็บป่วยของตนเองได้"

             ปณิธานโรคเบาหวานแห่งสหประชาชาติ: "ถึงเวลาทำคำพูดให้เป็นความจริง" เพื่อ ควบคุมการแพร่กระจายของ
    โรคเบาหวานอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เชี่ยวชาญจากทั่วโลกจึงอุทิศตนในการรักษาโรคเบาหวานตามหลักปฏิบัติที่

    ผู้ร่วมอุดมการณ์ร่วมกันร่างไว้ อย่างไรก็ตาม แค่หลักปฏิบัติเป็นลายลักษณ์อักษรคงไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอะไรได้

    แต่ถ้าหลักการดังกล่าวถูกนำไปใช้ทั่วโลก บทความนี้จะกลายเป็นพื้นฐานในการปฏิรูปการป้องกันและรักษาโรคเบาหวานต่อไปใน อนาคต

            หลักปฏิบัติในการปฏิรูปการรักษาโรคเบาหวาน

             - ควรยกระดับให้โรคเบาหวานเป็นปัญหาสาธารณสุขที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ

             - ต้องมีนโยบายร่วมกันเพื่ออำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่ดีที่ สุดในการรับมือกับโรค กระตุ้นให้สังคม ตระหนักถึงความสำคัญของโรค และนำโครงการป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพมาใช้

             - ใช้ความพยายามร่วมกันระหว่างสมาคมโรคเบาหวานและรัฐบาลในระดับภูมิภาคและ ระดับนานาชาติ เพื่อการรักษา โรคเบาหวานแต่เนิ่นๆ ซึ่งจะทำให้ผลลัพธ์ในการรักษาออกมาดีขึ้น นอกจากนั้น องค์กรนอกภาครัฐยังสามารถเป็นแรง สนับสนุนหลัก ในการปฏิรูปการรักษาโรคเบาหวาน

             - การพัฒนาความเข้าใจของสาธารณชนเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการวินิจฉัยและป้องกันโรคเบาหวานแต่เนิ่นๆ

             - ควรร่วมกันกระตุ้นให้สังคมตระหนักถึงความสำคัญของโรคเบาหวานเนื่องจากเป็น วิธีป้องกันโรคในเบื้องต้น
    รวมถึงให้การฝึกฝนเกี่ยวกับโรคเบาหวานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อให้ทุก ฝ่ายได้รับข้อมูลที่สอดคล้องกัน
             - ยุทธศาสตร์การจัดการโรคเบาหวานโดยมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางได้รับการพิสูจน์ แล้วว่าให้ผลสำเร็จในการกระตุ้น
    ให้ผู้ป่วยแต่ละคนรับมือกับอาการเจ็บป่วยของ ตนเอง         
    - โครงการป้องกันโรคควรครอบคลุมไปถึงปัญหาการมีน้ำหนักตัวมากเกินไปและรูปแบบ การใช้ชีวิตแบบนั่งหรือนอน
    อยู่กับที่เป็นเวลานาน รวมไปถึงภาคส่วนอื่นๆ อย่างอุตสาหกรรมอาหารด้วย
             - การรายงานและทดสอบศักยภาพอย่างสม่ำเสมอเป็นส่วนสำคัญในการประเมินผลของยุทธศาสตร์ใหม่ดังกล่าว
             "ด้วยการแลกเปลี่ยนวิธีการรับมือกับโรคเบาหวาน เราจะสามารถเปลี่ยนแปลงวิธีการป้องกัน ชะลอการลุกลาม
    และลดความรุนแรงของโรคได้" ศาสตราจารย์ เดล ปาโตร กล่าว "ด้วยการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
    ส่งเสริมการสร้างความร่วมมือระหว่างทีมงานที่มีเป้าหมายลแความรับผิดชอบร่วม กัน และดำเนินกิจกรรมอย่าง
    ครอบคลุมร่วมกัน เราก็สามารถพัฒนาการรักษาโรคเบาหวานได้อย่างยั่งยืน"
             การแพร่กระจายของโรคเบาหวานทั่วโลก
           ปัจจุบัน มีผู้ป่วยโรคเบาหวานกว่า 246 ล้านคนทั่วโลก ภายในปีพ.ศ. 2568 คาดว่า จะมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นเป็น 400 ล้านคน ทั้งนี้ องค์การอนามัยโลกคาดการณ์ว่าอัตราการป่วยเป็นโรคเบาหวานจะเพิ่มขึ้นในประเทศ กำลังพัฒนา อันเป็นผลมาจาก การเติบโตของจำนวนประชากร การเข้าสู่ช่วงสูงวัย การรับประทานอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ การมีน้ำหนักเกิน และการใช้ชีวิต แบบนั่งหรือนอนอยู่กับที่เป็นเวลานาน นอกจากนั้นองค์การอนามัยโลกยังคาดการณ์ว่า ในปีพ.ศ. 2568 ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ส่วนมากในประเทศพัฒนาแล้วจะเป็นกลุ่มที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 65 ปี ส่วนผู้ป่วยโรคเบาหวานส่วนมากในประเทศกำลังพัฒนา จะอยู่ในช่วงวัย 35 - 64 ปี ในขณะเดียวกัน สหพันธ์เบาหวานนานาชาติ (The International Diabetes Federation หรือ IDF) ก็คาดการณ์ว่า โรคเบาหวานจะแพร่กระจายมากที่สุดในประเทศกำลังพัฒนา
             เกี่ยวกับ วันเบาหวานโลก
           วันเบาหวานโลก ซึ่งก่อตั้งขึ้นโดยสหพันธ์เบาหวานนานาชาติโดยการสนับสนุนจากองค์การอนามัยโลก
    ถือเป็นโครงการรณรงค์ให้ทั่วโลกตระหนักถึงความสำคัญของโรคเบาหวาน โดยโครงการดังกล่าวสามารถดึงดูด
    ผู้คนหลายล้านคนจาก 160 ประเทศทั่วโลก ที่ตระหนักถึงการแพร่กระจายของโรคเบาหวานที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
             เกี่ยวกับ สมาพันธ์ความร่วมมือนานาชาติเพื่อการจัดการโรคเบาหวาน
           สมาพันธ์ความร่วมมือนานาชาติเพื่อการจัดการโรคเบาหวาน เกิดขึ้นจากการร่วมแรงร่วมใจของ
    ผู้เชี่ยวชาญด้านเบาหวานจากสถาบันและองค์กร โรคเบาหวานชั้นนำจากทั่วโลก โดยมีเป้าหมายร่วมกัน
    ในการพัฒนาการรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานแบบ 2 (Type 2 diabetes) นอกจากนั้นทางสมาพันธ์
    ยังตั้งเป้าที่จะให้คำแนะนำและการสนับสนุนกับเจ้า หน้าที่สาธารณสุขในการช่วยเหลือผู้ป่วยที่ต้องรับ
    การรักษาด้วยการควบคุม ปริมาณน้ำตาลกลูโคสในร่างกาย


My Beloved, Where are you?

Congratulations on your new Wellness Franchise Owners!  (Dealer or Franchise Apply and/or Buy ProductsAround the world.,  Where are you? Referring ID Number or/and Your Enroller's ID  or/and Sponsor ID :: 102421666 And Password:: 1024216667  Email::shilohthai@gmail.com

Customer ID Number for Franchise Owner Wellness
United States of AmericaUSA. Your Enroller's ID  or/and Sponsor ID :: 102421666


MexicoMexico Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
Puerto RicoPuerto Rico Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
Dominican RepublicDominican Republic Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
Luxembourg :  User Name Sponsor ID/Sponsor ID :: 102421666 And Password:: 1024216667
BahrainBahrain Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
 AlgeriaAlgeria Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
OmanOman Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
KuwaitKuwait Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
TunisiaTunisia Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
EgyptEgypt Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
JordanJordan Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
LebanonLebanon Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
MoroccoMorocco Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
QatarQatar Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
Saudi ArabiaSaudi Arabia Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
United Arab EmiratesUnited Arab Emirates Your Enroller’s ID  or/and Sponsor ID :: 98649666
Brunei  User Name Sponsor ID/Sponsor ID :: 102421666 And Password:: 1024216667

Bahamas 

User Name Sponsor ID/Sponsor ID :: 102421666 And Password:: 1024216667

Thailand Thailand User Name Sponsor ID/Sponsor ID :: 102421666 And Password:: 1024216667